นางสาวมนสิชา ศิลปสิทธิ์

นางสาวมนสิชา ศิลปสิทธิ์

วันเสาร์ที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 10

  บันทึกอนุทิน


วิชา การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ แจ่มถิน

วัน/เดือน/ปี 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

ครั้งที่ 10 เวลาเรียน 08.30-12:20

     เวลาเข้าสอน 08 : 30 เวลาเข้าเรียน 08 : 25 เวลาเลิกเรียน 11.00




          เช้านี้อากาศสดใส ... วันนี้เป็นวันพุธกลางเดือนกุมภาพันธ์ 2557และเป็นวันสุดท้ายของการเรียนการสอน "วิชาการจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย"  วันนี้ได้ทำกิจกรรมกับเพื่อนก ๆเป็นครั้งสุดท้าย.... คือกิจกรรม  การนำเสนอ "สื่อเกมการศึกษาของวิชาคณิตศาสตร์"  ........

 .....สื่อของกลุ่มดิฉันที่นำเสนอในวันนี้  ชื่อสื่อ "จับคู่ภาพเหมือนแต่สีต่างกันของผักผลไม้"

                                                                เด็กเล่นสื่อท่าทางมี "ความสุข"
                


ข้อควรรู้ของสื่อ
              
  ชื่อสื่อ  : จับคู่ภาพเหมือนแต่สีต่างกันของผักผลไม้
     
 วิธีการเล่น : หาความสัมพันธ์ระหว่าง 2 รูป ให้เด็กหาภาพที่เหมือนกันแต่สีต่างกันมาจับคู่กัน            

  ปัญหาที่พบ : ต้องอธิบายวิธีการเล่นสื่อหลายรอบ และความไม่คงทนของสื่

 เมื่อให้เด็กเล่นแล้วมีผลอย่างไร : เด็กรู้จักคิดแก้ไขปัญหา และ เกิดความสนุกสนานความเพลิดเพลินรู้จัก   การสังเกตและเป็นสื่อที่เหมาะสำหรับเด็กตั้งแต่ 3 ขวบขึ้นไป

สรุปทักษะที่เด็กได้รับ : เด็กได้ฝึกการสังเกต มีสมาธิ รู้จักจำแนกผัก ผลไม้ 


อกนำเสนอสื่อ "จับคู่ภาพเหมือนแต่สีต่างกันของผักผลไม้"




ลงานที่ชอบ .... ได้แก่   
                                           
                                  สื่ นาฬิกาหรรษา ......






ข้อควรรู้ของสื่อ

ชื่อสื่อ : นาฬิกาหรรษา ... :)

วิธีการเล่น : 1.ให้เด็กรู้จักนาฬิการก่อนว่านาฬิกามีลักษณะอย่างไร
                   2. ครูถอดชิ้นส่วนที่เป็นตัวเลขนาฬิกาออก
                   3.ให้เด็กประกอบชิ้นส่วนของนาฬิกาตามตัวเลขและรูปทรง
                   4. ให้เด็กเลือกภาพที่ืมีความสัมพันธ์กับเวลาแล้วนำไปเสียบด้านบนที่เป็นวงกลม

ปัญหาที่พบ : 1.เด็กที่อยู่อนุบาล 3 ไม่สามารถแยกแยะเข็มสั้น เข็ทยาวของนาฬิกาได้ เด็กไม่สามารถ                               หมุนนาฬิกาได้ว่าเข็มสั้น เข็มยาวจะชี้เลขใด

                      2.เด็กที่อยู่อนุบาล 1 ไม่สามารถเล่นได้ เพราะยังไม่รู้จักเวลาได้และยังไม่รู้จักตัวเลข รูป                              ทรงเรขาคณิต

 เมื่อให้เด็กเล่นแล้วมีผลอย่างไร :  

1. เด็กได้รู้จักเวลาและเข้าใจกิจวัตรประจำวัน

2.เด็กรู้จักรูปทรงเรขาคณิตต่าง ๆ เช่น วงกลม สามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม


 สรุปทักษะที่เด็กได้รับ  : จากการที่ได้นำสื่อคณิตศสาตร์ชิ้นนี้ไปทดลองเล่นกับเด็ก อนุบาล 1 และ อนุบาล 3 ผลปรากฎว่าเด็กชั้นอนุบาล 1 ไม่สามารถเล่นสื่อของเราได้ แต่เด็กอนุบาล 3 สามารถเล่นสื่อนาฬิกาหรรษาของเราได้ อย่างเช่น เด็กสามารถเรียงลำดับตัวเลขจาก 1 - 12 ได้ เด็กสามารถบอกลักษณะรูปทรงแต่ละรูปทรงได้ เด็กสามารถนำรูปภาพกิจวัตรประจำวันมาใส่ได้ถูกต้องตามช่าวเวลา  ....


       อบผลงานชั้นนี้ เพราะ .... เป็นผลงานที่สวยและสะดุดตา อีทั้งเพื่อนนำเสนอสื่อได้ดีมาก สามารถนำสื่อ "นาฬิกาหรรษา "ไปสอนเด็กปฐมวัยเด็กจริง...  


ความรู้ทีึ่ได้รับและการประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอน .....


1.มีความรู้เกี่ยวกับสื่อคณิตศาสตร์มากขึ้น ...

  2. สามารถนำข้อดีข้อเสียไปดัดแปลงให้สื่อมีคูณภาพที่ดีขึ้น ...

3. มีความรู้ว่าสื่อชิ้นใดเหมาะกับเด็กหรือไม่เหมาะกับเด็ก เพราะ สื่อนั้นทดลองการใช้งานกับเด็กมาแล้ว..

  4. ลงมือปฏิบัติการทำสื่อ รู้ว่าการทำสื่อนั้นทำอย่างไร ..







                     .. ปีศึ2556 ..







   

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น